ข้อสอบบทที่2

การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกมีหลายแบบ  เช่น  เคลื่อนตัวเข้าหาชนกันและมุดลง  หรือบางแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนตัวออกจาก  หรือบางแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่สวนกันแล้วผ่านกัน  ไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อนตัวแบบใดทำให้เกิดแผ่นดินไหวได้
5.  เฉลยข้อ   4
เหตุผล                          ซากดึกดำบรรพ์  (Fossill)  ทั้งพืชและสัตว์ที่พบจะถูกทับถมและฝังตัวอยู่ในชั้นหินตะกอนต่างๆ  ขึ้นอยู่กับซากเหล่านั้นอยู่ในแหล่งของตะกอนอะไร  ก็จะถูกฝังตัวอยู่ในหินตะกอนชนิดนั้นจนกระทั่งขุดพบ
6.  เฉลยข้อ   3
เหตุผล         
                                        ฐานธรณีภาคจะอยู่ลึกประมาณ  100 – 350  กิโลเมตร  จึงอยู่ในชั้นเนื้อโลก  (mantel)  ดังรูป       
7.  เฉลยข้อ   3
เหตุผล                          วงแหวนแห่งไฟ  (Ring  of  Fire)  จัดเป็นบริเวณที่เกิดแผ่นดินไหวค่อนข้างรุนแรงและมากสุด  คิดเป็นร้อยละ  80  ของการเกิดแผ่นดินไหวทั่วโลก  ซึ่งเป็นแนวรอยต่อที่เกิดล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก  เป็นบริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมด
8.  เฉลยข้อ   2
เหตุผล                          มาตราที่ใช้บอกความเสียหายของแผ่นดินไหวที่นิยมมากสุด  คือ  มาตราเมอร์คัลลี
9.  เฉลยข้อ   1
เหตุผล                          บริเวณหุบเขาทรุดตัวตามแนวสันเขากลางมหาสมุทร  เป็นการเคลื่อนตัวของขอบแผ่นธรณีภาคแยกตัวออกจากกัน
10.  เฉลยข้อ   1
เหตุผล                          ชั้นธรณีภาคอยู่ในชั้นเนื้อโลกที่ลึกลงไป  100 –
350  กิโลเมตรจากพื้นโลก  ซึ่งเป็นหินหลอมละลายร้อน  มีการหมุนวนตลอดเวลา  เป็นผลทำให้การเปลี่ยนแปลงและเกิดแผ่นดินไหวได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น